![]() ครูไปราชการที่ สพม.สุรินทร์ 4 วัน ในคาบเรียนวันจันทร์ และวันพุธ ให้ปฏิบัติดังนี้ ![]() กิจกรรมวันจันทร์ ที่ 29 สิงหาคม 2565 คาบ 8 (14.55-15.50 น.) ลงชื่อเข้าเรียน Click *** รายชื่อ *** งานศึกษาค้นคว้า หรือศึกษาเนื้อหาด้านล่างประกอบการตอบคำถาม คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ลงสมุด 1. พลังงานทดแทน หมายถึง .................................................................................................. 2. Gasohol หมายถึง .............................................................................................................. 3. Diesohol หมายถึง ........................................................................................................... 4. เอทานอล (Ethanol) หรือ เอธิลแอลกอฮอส์ (Ethyl Alcohol) มีสูตรทางเคมีคือ............... 5. การผลิตเอทานอลจากพืชผลทางการเกษตรมี ........ กระบวนการหลัก ได้แก่ 1. ......................................................... 2. ......................................................... 6. วัตถุดิบที่นำมาผลิตเอทานอล แบ่งออกเป็น ............. ประเภท ได้แก่ 1. ......................................................... 2. ......................................................... 3. ......................................................... 7. น้ำมันที่เรียกว่า E85 หมายถึง ................................................................................................... 8. ความเหมาะสมการใช้พืชผลเกษตรในประเทศไทยที่เหมาะสมที่สุดในการผลิต เอทานอล ได้แก่.................................................................................................................... 9. MTBE หมายถึง ........................................................................................................................ 10. ไบโอดีเซล (Biodiesel) หมายถึง ............................................................................................. 11. ผู้ที่ริเริ่มค้นพบไบโอดีเซลเป็นคนแรก ได้แก่ ........................................................................ 12. Coco-diesel หมายถึง ............................................................................................................. 13. ประเทศที่ใช้ไบโอดีเซลมากที่สุดในโลก ได้แก่...................................................................... 14. เชื้อเพลิงชีวภาพ หมายถึง .................................................................................................... 15. ก๊าซชีวภาพ (Biogas) ได้แก่ก๊าซ ................................................ ![]() กิจกรรมวันพุธ ที่ 31 สิงหาคม 2565 คาบ 8-9 (14.55-16.45 น.) งานศึกษาค้นคว้า หรือศึกษาเนื้อหาด้านล่างประกอบการตอบคำถาม คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ลงสมุด 1. ปัญหาสิ่งแวดล้อม หมายถึง …………………………………………………………………………. 2. จงยกตัวอย่างสิ่งแวดล้อมระดับโลก 3 ตัวอย่าง ……………………………………………………………………………………………………...………. ……………………………………………………………………………………………………...………. ……………………………………………………………………………………………………...………. 3. มลพิษดิน (Soil Pollution) หมายถึง …………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………...………. 4. แหล่งกำเนิดมลพิษอากาศที่สำคัญ ได้แก่ ………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………...………. 5. ก๊าซที่มีผลต่อเฮโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงทำให้เกิดคาร์บอกซีเฮโมโกลบิน ได้แก่ ……………………………………………………………………………………………………...………. 6. ฝนกรด (H2SO4) เกิดจากก๊าซ ……………………………………………………..……………………. 7. สาเหตุของการเกิดสารประกอบไฮโดรคาร์บอนในบรรยากาศ เกิดจาก ……………………………………………………………………………………………………...………. 8. Photochemical smog หมายถึง ……………………………………………………………………….. 9. โรคโอ้ยเจ็บ หมายถึง โรค....................................... เกิดจาก …………………………………...………. 10. Noise Pollution หมายถึง …………………………………………………………………...………. 11. แหล่งกำเนิดมลพิษทางเสียงมี แหล่ง ได้แก่ ……………………………………………………………………………………………………...………. 12. องค์การอนามัยโลกกำหนดความดังเสียงไม่เกิน ………………………………………...……...………. 13. การป้องกันมลพิษทางเสียงมาตรการทางวิศวกรรมทำได้...............ประการได้แก่…………...………. ……………………………………………………………………………………………………...………. ……………………………………………………………………………………………………...………. ……………………………………………………………………………………………………...………. 14. ผลกระทบจากการเกิดมลพิษน้ำด้านใดบ้าง ……………………………………………………………………………………………………...………. ……………………………………………………………………………………………………...………. 15. Greenhouse effect เกิดจากก๊าซ ……………………………………………………………………………………………………...………. ……………………………………………………………………………………………………...……….
16. ผลกระทบของการเกิดภาวะเรือนกระจก ได้แก่ ……………………………………………………………………………………………………...………. ……………………………………………………………………………………………………...………. 17. โอโซน (O3) ของในชั้นบรรยากาศ ...........................................................ความสูงประมาณ …...………. 18. สารที่ทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน คือ ……………………………………………………………………………………………………...………. ……………………………………………………………………………………………………...………. 19. ผลการทดลองของก๊าซโอโซน (O3) ……………………………………………………………………………………………………...………. ……………………………………………………………………………………………………...………. ![]() เนื้อหา ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและพลังงานทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งหรือทรัพยากรที่เกิดขึ้งเองตามธรรมชาติ กระบวนการต่างๆทางฟิสิกส์ เคมี และสิ่งเหล่านั้นก่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม นักอนุรักษ์วิทยาแบ่งทรัพยากรธรรมชาติไว้ 3 ประเภท ได้แก่ 1) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้น (Non-Exhausting Natural Resources) หรือทรัพยากรธรรมชาติที่มีใช้ตลอด (Inexhuastible Natural Resources) เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ บางชนิดมนุษย์ขาดเป็นเวลานานได้ บางชนิดขาดไม่ได้แม้เพียงระยะเวลาสั้น ๆ ก็อาจถึงตายได้ ทรัพยากรดังกล่าวได้แก่ ก) อากาศ มีอยู่อย่างสมบูรณ์ในโลก จำเป็นและสำคัญต่อมนุษย์ สัตว์ พืช สิ่งมีชีวิตทุกชนิด ข) น้ำ (ในวัฏจักร) หมายถึง น้ำในลักษณะการเก็บน้ำแล้วแปรสภาพเป็นน้ำไหลบ่า น้ำท่า น้ำในลำน้ำ น้ำใต้ดิน น้ำขัง และน้ำในมหาสมุทร มีความจำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต มีการหมุนเวียน ไม่จบสิ้น โดยทั่วไปมีปริมาณคงที่ในแต่ละแห่งของแต่ละปี นอกจากนี้ยังมีทรัพยากรแสงอาทิตย์ ดิน ชั้นบรรยากาศ เป็นต้น
2) ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้ (Replaceable or Renewable Natural Resources) เป็นทรัพยากรที่มีความจำเป็นต่อมนุษย์ในการดำรงชีพเพื่อตอบสนองปัจจัยสี่และ ความสะดวกสบาย เมื่อใช้แล้วสามารถเกิดทดแทนขึ้นได้ ซึ่งการทดแทนนั้นอาจใช้ระยะเวลาสั้นหรือยาวนานไม่เท่ากัน ทรัพยากรดังกล่าวได้แก่ ก) น้ำที่ใช้ได้ หมายถึงน้ำในที่ใดที่หนึ่งเมื่อใช้หมดแล้ว จะมีการทดแทนได้ด้วยฝนที่ตกตามปกติ ในแต่ละแห่งจะมีฝนตกเกือบเท่า ๆ กันในแต่ละปี นอกจากเกิดความแห้งแล้งผิดปกติเท่านั้น ข) ดิน เป็นปัจจัยสำคัญที่ให้อาหารเสื้อผ้า ที่อยู่อาศัย ซึ่งกำเนิดจากพื้นดิน ปัจจัยที่ทำให้เกิดดิน คือ หิน อากาศ พืช ระยะเวลา ลักษณะภูมิประเทศ การทดแทนต้องใช้ระยะเวลานาน นอกจากนี้ยังมีทรัพยากรชนิดอื่นอีก เช่น ทรัพยากรประมง ทรัพยากรเกษตร (พืชผัก เนื้อสัตว์) พืช สัตว์ป่า ป่าไม้ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น
3) ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป (Exhausting Natural Resources) หรือทรัพยากรที่ไม่สามารถทดแทนได้ (Irreplaceable Natural Resources) เป็นทรัพยากรที่ไม่สามารถจะทำมาทดแทนได้ เมื่อใช้หมดไป เช่น แร่ โลหะ ก๊าซธรรมชาติ น้ำมันปิโตรเลียม ถ่านหิน เป็นต้น ซึ่งทรัพยากรดังกล่าวจำเป็นมากต่อการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอกจากนี้พื้นที่ในลักษณะ ธรรมชาติ (Land in Natural Condition) ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ทดแทนไม่ได้ เพราะเมื่อถูกทำลายลงแล้ว ไม่สามารถทำให้เหมือนสภาพเดิมได้ทั้งในส่วนประกอบ ต่าง ๆ และทัศนียภาพ สิ่งแวดล้อม หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบๆ ตัวเรา ทั้งที่เกิดเองตามธรรมชาติและที่เกิดจากการสร้างขึ้นของมนุษย์ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม สิ่งแวดล้อมมีสมบัติเฉพาะตัว สิ่งแวดล้อมจะไม่อยู่โดดเดี่ยวในธรรมชาติ จะมีความต้องการต่อสิ่งอื่นๆเสมอ พลังงาน หมายถึง ความสามารถในการทำงานที่มีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้งานได้ ได้แก่พลังงานหมุนเวียน หรืออาจหมายถึงทรัพยากรธรรมชาติที่ก่อให้เิกิดพลังงาน เมื่อใช้แล้วสามารถเกิดทนแทนได้และพลังงานสิ้นเปลืองอาจหมายถึงทรัพยากรธรรมชาติที่ก่อให้เกิดพลังงานแต่เมื่อใช้แล้วไม่สามารถเกิดทนแทนได้ ทรัพยากรธรรมชาติที่นำมาใช้ในด้านพลังงานถ้าไม่ต้องผ่านการแปรรูปเลยเรียกว่า พลังงานต้นกำเนิด ส่วนที่ผ่านการแปรรูปเรียกว่า พลังงานแปรรูป เชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil fuel) คืออินทรีย์สารใต้พื้นโลกที่เกิดจากการทับถมกันของซากพืชซากสัตว์ใต้ทะเลลึกเมื่อหลายพันล้านปีก่อนพร้อมกับได้รับความร้อนจากใต้พื้นพิภพ ทำให้ซากพืชซากสัตว์ที่ทับถมกันหนาแน่นใต้ชั้นหินตะกอนเกิดการย่อยสลายกลายเป็นแหล่งสะสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon) ขนาดใหญ่ ที่มนุษย์นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงและแหล่งกำเนิดพลังงานต่างๆ ทรัพยากรธรรมชาต สิ่งแวดล้อม และพลังงาน มีความสัมพันธ์ลึกซึ้งแยกจากกันไม่ได้ ถ้าสิ่งหนึ่งสิ่งใดถูกกระทบกระเทือนย่อมมีผลต่อสิ่งอื่น ๆ ด้วยเสมอ ดังนั้น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและพลังงาน ต้องเป็นไปตามหลักอนุรักษ์วิทยา นั่นคือ ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าที่สุด ใช้ให้ได้นานที่สุด ผลกระทบน้อยที่สุดและเหมาะกับการเวลาที่จะใช้ รวมทั้งขณะใช้ถ้าเป้นทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่สามารถเกิดทดแทนได้ ต้องพยายามหาสิ่งทดแทนเสมอ เกร็ดความรู้...พลังงานและสิ่งแวดล้อม
กับเอทานอลบริสุทธิ์ อัตราส่วน 9:1 ใช้แทนเบนซิน 95
โดยมีสารเติมแต่งอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) เพื่อให้น้ำมันดีเซลผสมกับเอทานอล
กากน้ำตาล และมันสำปะหลัง
หรือน้ำมันปรุงอาหารที่ใช้แล้ว แล้วผ่านกระบวนการทางเคมีที่เรียกว่า Transesterification
สรุปเนื้อหาปัญหาสิ่งแวดล้อม รายชื่อนักเรียนที่ส่ง Link ข่าวสิ่งแวดล้อมเรื่อง ศึกษาข่าวสิ่งแวดล้อมชื่อข่าว ผลกระทบโลกร้อนในลุ่มน้ำโขงตอนล่างยิ่งเลวร้ายถ้าไม่รับมือตั้งแต่วันนี้ เรื่อง : กรวิกา/ภาพ : Mekong ARCC 29 มีนาคม 2556 โครงการแม่โขง เออาร์ซีซี (Mekong ARCC-Mekong Adaptation and Resilience to Climate Change)http://www.greenworld.or.th/greenworld/local/2158
เผยการวิเคราะห์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและปริมาณน้ำฝนต่อผลผลิตทางการเกษตร อาทิ ข้าว ข้าวโพด ยางพารา มันสำปะหลัง ถั่วเหลือง และกาแฟ รวมถึงผลผลิตทางการประมงและปศุสัตว์ โดยพยากรณ์ว่าการเปลี่ยนแปลงด้านอุณหภูมิและปริมาณน้ำฝนจะกระทบต่อความเหมาะสมในการปลูกพืชอุตสาหกรรมและพืชอาหารในลาว กัมพูชา ไทย และเวียดนาม รวมทั้งยังพบว่ามีพื้นที่เสี่ยงหลายพื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบรุนแรงที่สุดจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงภูมิภาคนี้พึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลักร้อยละ 70 ของประชากรลุ่มน้ำโขงตอนล่าง 60 ล้านคนเป็นชาวนาและชาวประมง เพราะฉะนั้นการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศจึงมีผลกระทบโดยตรงกับการทำมาหากิน สุขภาพและความมั่นคงทางอาหารของคนท้องถิ่น “เป็นเรื่องที่น่าตกใจอย่างยิ่งเมื่อผลการศึกษาบ่งชี้ว่า ภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่างกำลังเผชิญกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงเกินกว่าที่นักวิจัยเคยคาดการณ์ไว้ ทั้งเรื่องอุณหภูมิและปริมาณน้ำฝน”ดร. เจอเรมี่ แครูว์-รี้ด หัวหน้างานศึกษาผลกระทบและความสามารถในการปรับตัวต่อสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงของประเทศในกลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่างกล่าวนักวิจัยสภาพภูมิอากาศทั่วโลกลงความเห็นว่า อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่เพิ่มขึ้น 2 องศาเซลเซียส ถือเป็นจุดวิกฤตหากเกินจากนี้จะก่อให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อผู้คนและสิ่งแวดล้อม แต่การศึกษาชิ้นนี้พบว่าหลายพื้นที่ในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนล่างอาจมีอุณหภูมิสูงขึ้นถึง 4-6 องศาเซลเซียส ภายในปี พ.ศ.2593ถึงแม้ว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่จะรุนแรงไม่เท่ากัน แต่ทุกประเทศในลุ่มน้ำโขงตอนล่างจะพบกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ทั้งนี้ทีมผู้ศึกษาหวังว่าประโยชน์ของงานวิจัยชิ้นนี้จะไปถึงมือผู้กำหนดนโยบายโดยเฉพาะองค์กรท้องถิ่น เพื่อวางแผนรับมือกับสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง เช่น ช่วยส่งเสริมการวางแผนเพื่อความมั่นคงทางอาหารและการพัฒนาเศรษฐกิจโดยใช้หลักทางวิทยาศาสตร์มาช่วยให้ชุมชนและประเทศลดความเสี่ยง และสามารถรับมือกับผลกระทบจากอากาศเปลี่ยนแปลงที่จะมีต่อผลผลิตทางการเกษตร รวมทั้งเกิดความร่วมมือทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจของ 4 ประเทศอย่างเข้มแข็งมากขึ้น สรุปความสำคัญของข่าว (ลงสมุด) สาเหตุ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ผลกระทบ............................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ที่ไหน.................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ เมื่อใด.................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ แนวทางแก้ไข........................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ส่ง Link ข่าวที่ศึกษา แบบฟอร์มด้านล่าง หรือ Click ที่นี่ ----------------------------- วิชาพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม รหัส 20001 – 1001 (1.5 นก./3 ชม.) ชั้น ปวช.3 >> ผลการเรียนรู้ << ครูผู้สอน นายชาญณรงค์ มุมทอง, นางสาวนุจรี ตรีสุน ----------------------------- ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและพลังงานทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งหรือทรัพยากรที่เกิดขึ้งเองตามธรรมชาติ กระบวนการต่างๆทางฟิสิกส์ เคมี และสิ่งเหล่านั้นก่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม นักอนุรักษ์วิทยาแบ่งทรัพยากรธรรมชาติไว้ 3 ประเภท ได้แก่ 1) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้น (Non-Exhausting Natural Resources) หรือทรัพยากรธรรมชาติที่มีใช้ตลอด (Inexhuastible Natural Resources) เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ บางชนิดมนุษย์ขาดเป็นเวลานานได้ บางชนิดขาดไม่ได้แม้เพียงระยะเวลาสั้น ๆ ก็อาจถึงตายได้ ทรัพยากรดังกล่าวได้แก่ ก) อากาศ มีอยู่อย่างสมบูรณ์ในโลก จำเป็นและสำคัญต่อมนุษย์ สัตว์ พืช สิ่งมีชีวิตทุกชนิด ข) น้ำ (ในวัฏจักร) หมายถึง น้ำในลักษณะการเก็บน้ำแล้วแปรสภาพเป็นน้ำไหลบ่า น้ำท่า น้ำในลำน้ำ น้ำใต้ดิน น้ำขัง และน้ำในมหาสมุทร มีความจำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต มีการหมุนเวียน ไม่จบสิ้น โดยทั่วไปมีปริมาณคงที่ในแต่ละแห่งของแต่ละปี นอกจากนี้ยังมีทรัพยากรแสงอาทิตย์ ดิน ชั้นบรรยากาศ เป็นต้น
2) ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้ (Replaceable or Renewable Natural Resources) เป็นทรัพยากรที่มีความจำเป็นต่อมนุษย์ในการดำรงชีพเพื่อตอบสนองปัจจัยสี่และ ความสะดวกสบาย เมื่อใช้แล้วสามารถเกิดทดแทนขึ้นได้ ซึ่งการทดแทนนั้นอาจใช้ระยะเวลาสั้นหรือยาวนานไม่เท่ากัน ทรัพยากรดังกล่าวได้แก่ ก) น้ำที่ใช้ได้ หมายถึงน้ำในที่ใดที่หนึ่งเมื่อใช้หมดแล้ว จะมีการทดแทนได้ด้วยฝนที่ตกตามปกติ ในแต่ละแห่งจะมีฝนตกเกือบเท่า ๆ กันในแต่ละปี นอกจากเกิดความแห้งแล้งผิดปกติเท่านั้น ข) ดิน เป็นปัจจัยสำคัญที่ให้อาหารเสื้อผ้า ที่อยู่อาศัย ซึ่งกำเนิดจากพื้นดิน ปัจจัยที่ทำให้เกิดดิน คือ หิน อากาศ พืช ระยะเวลา ลักษณะภูมิประเทศ การทดแทนต้องใช้ระยะเวลานาน นอกจากนี้ยังมีทรัพยากรชนิดอื่นอีก เช่น ทรัพยากรประมง ทรัพยากรเกษตร (พืชผัก เนื้อสัตว์) พืช สัตว์ป่า ป่าไม้ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น
3) ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป (Exhausting Natural Resources) หรือทรัพยากรที่ไม่สามารถทดแทนได้ (Irreplaceable Natural Resources) เป็นทรัพยากรที่ไม่สามารถจะทำมาทดแทนได้ เมื่อใช้หมดไป เช่น แร่ โลหะ ก๊าซธรรมชาติ น้ำมันปิโตรเลียม ถ่านหิน เป็นต้น ซึ่งทรัพยากรดังกล่าวจำเป็นมากต่อการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอกจากนี้พื้นที่ในลักษณะ ธรรมชาติ (Land in Natural Condition) ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ทดแทนไม่ได้ เพราะเมื่อถูกทำลายลงแล้ว ไม่สามารถทำให้เหมือนสภาพเดิมได้ทั้งในส่วนประกอบ ต่าง ๆ และทัศนียภาพ สิ่งแวดล้อม หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบๆ ตัวเรา ทั้งที่เกิดเองตามธรรมชาติและที่เกิดจากการสร้างขึ้นของมนุษย์ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม สิ่งแวดล้อมมีสมบัติเฉพาะตัว สิ่งแวดล้อมจะไม่อยู่โดดเดี่ยวในธรรมชาติ จะมีความต้องการต่อสิ่งอื่นๆเสมอ พลังงาน หมายถึง ความสามารถในการทำงานที่มีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้งานได้ ได้แก่พลังงานหมุนเวียน หรืออาจหมายถึงทรัพยากรธรรมชาติที่ก่อให้เิกิดพลังงาน เมื่อใช้แล้วสามารถเกิดทนแทนได้และพลังงานสิ้นเปลืองอาจหมายถึงทรัพยากรธรรมชาติที่ก่อให้เกิดพลังงานแต่เมื่อใช้แล้วไม่สามารถเกิดทนแทนได้ ทรัพยากรธรรมชาติที่นำมาใช้ในด้านพลังงานถ้าไม่ต้องผ่านการแปรรูปเลยเรียกว่า พลังงานต้นกำเนิด ส่วนที่ผ่านการแปรรูปเรียกว่า พลังงานแปรรูป เชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil fuel) คืออินทรีย์สารใต้พื้นโลกที่เกิดจากการทับถมกันของซากพืชซากสัตว์ใต้ทะเลลึกเมื่อหลายพันล้านปีก่อนพร้อมกับได้รับความร้อนจากใต้พื้นพิภพ ทำให้ซากพืชซากสัตว์ที่ทับถมกันหนาแน่นใต้ชั้นหินตะกอนเกิดการย่อยสลายกลายเป็นแหล่งสะสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon) ขนาดใหญ่ ที่มนุษย์นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงและแหล่งกำเนิดพลังงานต่างๆ ทรัพยากรธรรมชาต สิ่งแวดล้อม และพลังงาน มีความสัมพันธ์ลึกซึ้งแยกจากกันไม่ได้ ถ้าสิ่งหนึ่งสิ่งใดถูกกระทบกระเทือนย่อมมีผลต่อสิ่งอื่น ๆ ด้วยเสมอ ดังนั้น การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและพลังงาน ต้องเป็นไปตามหลักอนุรักษ์วิทยา นั่นคือ ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าที่สุด ใช้ให้ได้นานที่สุด ผลกระทบน้อยที่สุดและเหมาะกับการเวลาที่จะใช้ รวมทั้งขณะใช้ถ้าเป้นทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่สามารถเกิดทดแทนได้ ต้องพยายามหาสิ่งทดแทนเสมอ เกร็ดความรู้...พลังงานและสิ่งแวดล้อม🟢พลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานที่หามาทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล ซึ่งใช้แล้วหมด พลังงานทดแทนเรียกอีกอย่างว่า พลังงานหมุนเวียน ใช้แล้วไม่หมด🟢พลังงานสิ้นเปลือง (Conventional Energy) คือ พลังงานที่ใช้แล้วหมดไป หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า พลังงานฟอสซิล (Fossil Fuels) ได้แก่ น้้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน รวมทั้งหินน้ำมันและทรายน้ำมัน ที่เรียกว่าใช่แล้วหมดไป ก็เพราะว่าหามาทดแทนไม่ทันการใช้🟢Gasohol หมายถึง น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนต์เบนซิน จากการผสมน้ำมันเบนซินออกเทน 91 กับเอทานอลบริสุทธิ์ อัตราส่วน 9:1 ใช้แทนเบนซิน 95🟢 Diesohol หมายถึง น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนต์ดีเซล ได้จากการผสมน้ำมันดีเซลกับเอทานอล โดยมีสารเติมแต่งอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) เพื่อให้น้ำมันดีเซลผสมกับเอทานอล🟢เอทานอล (Ethanol) หรือ เอธิลแอลกอฮอส์ (Ethyl Alcohol) มีสูตรทางเคมีคือ C2H5OH🟢 การผลิตเอทานอลจากพืชผลทางการเกษตรมี 2 กระบวนการหลัก ได้แก่1. กระบวนการหมัก (Fermentation)2. กระบวนการกลั่น (Distillation)🟢วัตถุดิบที่นำมาผลิตเอทานอล แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่1. ประเภทแป้ง2. ประเภทน้ำตาล3. ประเภทเส้นใย🟢น้ำมันที่เรียกว่า E85 หมายถึง สัดส่วนการผสมเอทานอลในน้ำมันเบนซินร้อยละ 85🟢ความเหมาะสมการใช้พืชผลเกษตรในประเทศไทยที่เหมาะสมที่สุดในการผลิต เอทานอล ได้แก่ อ้อย กากน้ำตาล และมันสำปะหลัง🟢 MTBE หมายถึง Methyl Tertiary-Butyl Ether เป็นสารเคมีเพิ่มค่าออกเทน ในน้ำมันไร้สารตะกั่ว🟢ไบโอดีเซล (Biodiesel) หมายถึง เชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนต์ดีเซลที่ได้จากน้ำมันพืช ไขมันสัตว์ หรือน้ำมันปรุงอาหารที่ใช้แล้ว แล้วผ่านกระบวนการทางเคมีที่เรียกว่า Transesterification🟢 ผู้ที่ริเริ่มค้นพบไบโอดีเซลเป็นคนแรก ได้แก่ รูดอล์ฟ ดีเซล ชาวเยอรมัน🟢Coco-diesel หมายถึง ไบโอดีเซลจากน้ำมันมะพร้าวผสมน้ำมันก๊าด อัตราส่วน 20:1🟢ประเทศที่ใช้ไบโอดีเซลมากที่สุดในโลก ได้แก่ เยอรมัน🟢 เชื้อเพลิงชีวภาพ หมายถึง เชื้อเพลิงที่ได้จากพืชและสัตว์หรือชีวมวล โดยมีพื้นฐานจากการสังเคราะห์แสงของพืช แล้วเก็บพลังงานในรูปของพลังงานเคมี🟢ก๊าซชีวภาพ (Biogas) ได้แก่ ก๊าซมีเทนกิจกรรมที่ 2 กำหนดส่งงาน ( วันจันทร์ ที่ 30 พ.ค. 65 ...........ส่งในคาบ) คำชี้แจง : จงเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (เขียนลงสมุด) 1. ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. 2. นักอนุรักษ์วิทยาแบ่งทรัพยากรธรรมชาติไว้........................ประเภท ได้แก่ ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. 3. สิ่งแวดล้อม (Environment) หมายถึง ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. 4. พลังงาน หมายถึง ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. 5. พลังงานสิ้นเปลือง หมายถึง ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. 6. พลังงานหมุนเวียน หมายถึง ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. 7. พลังงานต้นกำเนิด หมายถึง ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. 8. พลังงานแปรรูป หมายถึง ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. 9. เชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil Fuels) หมายถึง ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. 10. พลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................. กิจกรรมที่ 1 กำหนดส่งงาน (_____________________) คำชี้แจง : ให้นักเรียนยกตัวอย่างภาพทรัพยากรธรรมชาติ พร้อมระบุประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ (ทำกิจกรรมในกระดานนำเสนอออนไลน์ด้านล่าง หรือ กดที่นี่ เพื่อทำกิจกรรม) |