เฉลยแบบทดสอบดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต







คาบ 6-7
วันพฤหัสบดี ที่ 29 ตุลาคม 2563
กิจกรรมข้อสอบโอเน็ต การรักษาดุลยภาพในสิ่งมีชีวิต 


คาบ 6-7
วันพฤหัสบดี ที่ 22 ตุลาคม 2563
กิจกรรม การรักษาดุลยภาพในสิ่งมีชีวิต 

1. ร่างกายคนมีกลไกในการรักษาอุณหภูมิให้คงที่ได้อย่างไร
2. เพราะเหตุใดเมื่อนักเรียนอยู่กลางแดดหรือเล่นกีฬาจึงหน้าแดงและมีเหงื่อออกมาก
3. เมื่ออยู่ในห้องที่อากาศเย็นจัดมือของนักเรียนจะซีด ขนลุกและหนาวสั่น นักเรียนทราบหรือไม่ว่าเพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น


คาบ 6-7
วันพฤหัสบดี ที่ 15 ตุลาคม 2563
กิจกรรม
แบบฝึกหัดการรักษาดุลยภาพในสิ่งมีชีวิต 
🔸🔸🔸

สำหรับนักเรียนที่ทำแบบทดสอบแล้ว ปฏิบัติดังนี้
1.ให้เขียนโจทย์และคำตอบลงสมุด (แบบทดสอบแนบไว้ด้านล่าง)

สำหรับนักเรียนที่ยังไม่ได้ทำแบบทดสอบ ปฏิบัติดังนี้
1. ทำแบบทดสอบออนไลน์ กดที่นี่เพื่อทำแบบทดสอบ >>> Click
2. ให้เขียนโจทย์และคำตอบลงสมุด (แบบทดสอบแนบไว้ด้านล่าง) 



รายชื่อและคะแนน นักเรียนที่ทำแบบทดสอบแล้ว
Start time Completion time Total points ชื่อ - สกุล เลขที่
8/22/20 13:02:18 8/22/20 13:06:57 4 ชญานนท์  แสงสว่าง 2
8/22/20 13:01:43 8/22/20 13:06:58 3 วรรณวิสาข์ สันทาลุนัย 29
8/22/20 13:35:08 8/22/20 13:41:16 2 อภิสิทธิ์ ทำพลกรัง 6
8/22/20 13:36:24 8/22/20 13:55:43 4 ลลิตา เจิมทอง 15
8/22/20 13:26:00 8/22/20 14:00:50 9 ชนัญญา บุญไทย 7
8/22/20 13:59:47 8/22/20 14:03:28 3 สุดารัตน์ ศรัทธาธรรม 31



การรักษาดุลยภาพของร่างกายมนุษย์
🔸🔸🔸

  • ผังมโนทัศน์
https://drive.google.com/file/d/1VM8EpqprOsTAT4vOTlLv3FViLJi4sSNr/view?usp=sharing


  • ตรวจสอบความรู้ก่อนเรียน 🔸🔸🔸
https://drive.google.com/file/d/1TIgaMmXJChLmna8BAMNddJeon1CqidaV/view?usp=sharing


















คำศัพท์บทที่ 1
เรื่อง การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์

คำศัพท์ภาษาไทย คำศัพท์ภาษาอังกฤษ  ความหมาย
การแพร่แบบธรรมดา    
การแพร่แบบฟาซิลิเทต   
ออสโมซิส   
เอกโซไซโทซิส   
เอนโดไซโทซิส  
แอกทีฟทรานสปอร์ต  
ฟาโกไซโทซิส   
พิโนไซโทซิส   
การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ   


งานศึกษาค้นคว้า 
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ 

  เอกสารประกอบการศึกษาค้นคว้า
https://sites.google.com/a/srk.ac.th/biologysrk/31141-163-1

ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย  หน้าข้อที่ถูกต้อง  และทำเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ผิด (และแก้ไขข้อที่ผิดให้ถูกต้อง) 

............. 1. สารละลาย Hypotonic ภายนอกเซลล์มีแรงดันออสโมซิสสูงกว่าสารละลายภายในเซลล์ ทำให้น้ำออสโมซิสออกจากเซลล์สู่ภายนอกเซลล์

............. 2. การแพร่สามารถเกิดขึ้นได้ในทุกสถานะ ไม่ว่าจะเป็นในของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส

............. 3. สารที่สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ดี มักเป็นสารที่มีขนาดใหญ่และละลายน้ำได้ดี

............. 4. ปรากฏการณ์เซลล์เต่งหรือแตก เรียกว่า พลาสโมไทซิส (Plasmoptysis) เกิดในสารละลายประเภท Isotonic 

............. 5. Osmosis เป็นการแพร่ของตัวถูกละลายผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

............. 6. หากนำเซลล์เม็ดเลือดแดงและเซลล์พืชใส่ในสารละลาย Hypertonic จะพบว่า เซลล์เม็ดเลือดแดงจะเหี่ยวลง ส่วนเซลล์พืชจะเกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่า Plasmolysis

............. 7. เมื่อสารละลายใดๆเข้าสู่สมดุลของการแพร่ จะไม่เกิดการแพร่ของอนุภาคสารอีกต่อไป

............. 8. การลำเลียงสารผ่านเซลล์แบบ Facilited Diffusion จำเป็นต้องอาศัยโปรตีนตัวพา  

............. 9.Phagocytosis คือการกินของเซลล์ หรือเรียกว่า cell drinking เช่น การกินอาหารของอะมีบา

............. 10. พิโนไซโทซิส  (Pinocytosis)  เป็นการลำเลียงสารออกนอกเซลล์ (Exocytosis)