ปลายภาค 1/2563
ปรนัย 40 ข้อ 20 คะแนน
- ประมาณ 22 ข้อ --> กลางภาค (ในสมุด) 
- ประมาณ 18 ข้อ --> แบบทดสอบออนไลน์ (อยู่ในสมุด) + ข้อสอบโอเน็ต  




วิชาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต ว31142
ชั้น ม.4 ห้องทวิศึกษา

ตัวชีวัด
1.ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต 
2.ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช 
3.สืบค้นข้อมูลและอธิบายกลไกการควบคุมดุลยภาพของน้ำ แร่ธาตุ และอุณหภูมิของมนุษย์และสัตว์อื่นๆและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 
4.อธิบายเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายและนำความรู้ไปใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพ


เฉลยแบบทดสอบดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต


การรักษาดุลยภาพในสิ่งมีชีวิต 


กิจกรรมข้อสอบโอเน็ต การรักษาดุลยภาพในสิ่งมีชีวิต 





กลไกการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย

1. ร่างกายคนมีกลไกในการรักษาอุณหภูมิให้คงที่ได้อย่างไร
2. เพราะเหตุใดเมื่อนักเรียนอยู่กลางแดดหรือเล่นกีฬาจึงหน้าแดงและมีเหงื่อออกมาก
3. เมื่ออยู่ในห้องที่อากาศเย็นจัดมือของนักเรียนจะซีด ขนลุกและหนาวสั่น นักเรียนทราบหรือไม่ว่าเพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น


กิจกรรม
แบบฝึกหัดการรักษาดุลยภาพในสิ่งมีชีวิต 
🔸🔸🔸

1. ทำแบบทดสอบออนไลน์ กดที่นี่เพื่อทำแบบทดสอบ >>> Click
2. ให้เขียนโจทย์และคำตอบลงสมุด (แบบทดสอบแนบไว้ด้านล่าง) 

  • ผังมโนทัศน์
https://drive.google.com/file/d/1VM8EpqprOsTAT4vOTlLv3FViLJi4sSNr/view?usp=sharing


  • ตรวจสอบความรู้ก่อนเรียน
https://drive.google.com/file/d/1TIgaMmXJChLmna8BAMNddJeon1CqidaV/view?usp=sharing



เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์

การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์


Test
ไม่พบ URL ของข้อกำหนด Gadget





ผังมโนทัศน์


ลำดับแนวความคิด บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข

คำศัพท์
เรื่อง การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์

คำศัพท์ภาษาไทย คำศัพท์ภาษาอังกฤษ  ความหมาย
การแพร่แบบธรรมดา    
การแพร่แบบฟาซิลิเทต   
ออสโมซิส   
เอกโซไซโทซิส   
เอนโดไซโทซิส  
แอกทีฟทรานสปอร์ต  
ฟาโกไซโทซิส   
พิโนไซโทซิส   
การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ   
สารละลายไอโซโทนิก  
สารละลายไฮโปโทนิก  
สารละลายไฮเปอร์โทนิก  









เนื้อหา
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆในร่างกาย



ตรวจสอบการส่งแบบทดสอบ คาบที่ 4
ตรวจสอบการส่งแบบทดสอบ คาบที่ 3
ตรวจสอบการส่งแบบทดสอบ คาบที่ 2

คาบที่ 1 เรื่อง 1.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเซลล์ การศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ (กล้องจุลทรรศน์)

คาบที่ 2 เรื่อง 1.2 โครงสร้างและสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ที่สัมพันธ์กับวิธีการลำเลียงสาร

คาบที่ 1 เรื่อง 1.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเซลล์ การศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ (กล้องจุลทรรศน์) (
วันพฤหัสบดี ที่ 21 พฤษภาคม 2563)

ทบทวนเนื้อหา
ความรู้เรื่องเซลล์และส่วนประกอบของเซลล์

    เซลล์ (Cell) เซลล์เป็นโครงสร้างพื้นฐานและการทำหน้าที่ของสิ่งมีชีวิต ประกอบด้วยส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ คือ เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) สำหรับพืชมีผนังเซลล์ (cell wall) อยู่ด้านนอกเยื่อหุ้มเซลล์ โครงสร้างที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) ประกอบด้วยของเหลวภายในเซลล์ ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) และนิวเคลียส เซลล์สามารถจำแนกโดยใช้หลัก การมีหรือไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส และการมีหรือไม่มีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม ได้เป็น 2 ประเภท คือ 
    1. เซลล์โพรแคริโอต (prokaryotic cell) เป็นเซลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสและไม่มีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม ตัวอย่าง สิ่งมีชีวิตในกุล่มนี้ เช่น เเบคทีเรีย ไซยาโนแบคทีเรีย (หรือนิยมเรียกว่าสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน)
             
      รูปเซลล์โพรแคริโอต        
 
รูปเเบคทีเรีย


 
        รูปไซยาโนแบคทีเรีย


    2. เซลล์ยูแคริโอต (eukaryotic cell) เป็นเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสและมีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม ตัวอย่าง สิ่งมีชีวิตใน
กลุ่มนี้ เช่น กลุ่มโพรติสต์ เห็ด รา และพืช 
   
   
       รูปเซลล์ยูแคริโอต              

รูปเห็ด รา

 
รูปอะมีบา


ทบทวนเรื่องกล้องจุลทรรศน์
1. กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้กันโดยทั่วไปประกอบด้วยเลนส์สองอันขึ้นไป เรียกกล้องจุลทรรศน์นี้ว่า กล้องจุลทรรศน์เชิงประกอบ (compound microscope) 
รูป compound microscope

2. กล้องจุลทรรศน์ที่ประกอบด้วยเลนส์เพียงอันเดียว (simple microscope) ได้แก่ เเว่นขยายทั่วไป 
รูป simple microscope





การบ้านครั้งที่ 1 เรื่อง การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ (ตอนที่ 1)

กดที่รูป เพื่อดูภาพขขนาดที่ใหญ่ขึ้น
https://drive.google.com/file/d/1kp5NnHUnZRI435brq_AV0LW-wHbybAp4/view?usp=sharing



ตรวจสอบการเข้าเรียนและการส่งงาน



ไม่พบ URL ของข้อกำหนด Gadget